Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2565

เรื่องเต็มงานวิจัย

ผลของเอทิลีนและ 1-MCP ต่อการเสื่อมสภาพของดอกตูมและดอกบานในกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนาน
โดย กานต์สินี ท่าโพธิ์ พีรยุทธ สิริฐนกร และ อัณณ์ชญาน์ มงคลชัยพฤกษ์

งานวิจัยของศูนย์ฯ

  • การใช้สารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์และกรดออกซาลิกเพื่อลดการเกิดสีน้ำตาลของเปลือกผลลำไยระหว่างการเก็บรักษา
  • ผลของ Indole-3-Acetic Acid จากแบคทีเรีย (Micrococcus yunnanensis) ต่ออายุการปักแจกันของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนาน

นานาสาระ

การใช้เทคนิคประมวลผลภาพสู่การวิเคราะห์สิ่งเจือปนในข้าวเปลือก
โดย ผศ.ดร. กิตติพงษ์ ลาลุน คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลสัมฤทธิ์งานวิจัยศูนย์ฯ

การใช้ผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพและการจัดการทางกายภาพเพื่อศึกษาการสลายตัวของสารพิษจากเชื้อราในธัญพืช : ความแตกต่างของสารทุติยภูมิของเชื้อรา Aspergillus flavus กลุ่มที่สร้างและไม่สร้างสารพิษอะฟลาทอกซิน
โดย รศ.ดร. ชัยณรงค์  รัตนกรีฑากุล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ดาวน์โหลด Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน 2565