ชื่อสามัญ : ถั่วเหลือง (soybean)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Glycine max, Glycine soja
ตระกูล : Fabaceae
พบทั้งสิ้น 217 เรื่อง
- 21.ผลของการคัดเมล็ดต่อการเกิดโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ และรูปแบบต่างๆ ของเชื้อรา Macrophomina phaseolina ที่ติดมากับเมล็ดถั่วเหลืองพันธุ์ มข. 35
จินตนา สุมขุนทด
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโรคพืชวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2543. 79 หน้า. - 22.ลักษณะทางกายภาพของเมล็ดและเยื่อหุ้มเมล็ดที่สัมพันธ์กับคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง
เชิดชาย วังคำ
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) พืชไร่นา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 118 หน้า. - 23.การออกแบบและพัฒนาเครื่องเกี่ยวนวดถั่วเหลืองพ่วงต่อรถแทรกเตอร์
ฐานิสร นาคเกื้อ
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 184 หน้า. - 24.ผลของระยะเวลาปลูกที่มีต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์และระดับเอนไซม์ดีไฮโดรจิเนสในเมล็ดเขียวของถั่วเหลือง
เดชา แม้ประสาท
วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เกษตรศาสตร์ (สาขาวิชาพืชไร่)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2537. 87 หน้า. - 25.ผลของการใช้สารพาราขวัทและเอธีฟอนเพื่อช่วยเร่งการเก็บเกี่ยว และวิธีการลดความชื้นต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองที่ปลูกในต้นฤดูฝน
ธีรศักดิ์ ประทีป ณ ถลาง
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. วิทยาศาสตร์ (เกษตรศาสตร์). พืชไร่นา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 119 หน้า - 26.เทคนิคการเร่งอายุเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองเพื่อประเมินอายุการเก็บรักษาในเขตร้อนชื้น
นงเยาว์ รัตนพันธ์
วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์)) คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2538. 75 หน้า. - 27.การเสื่อมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ในแปลงปลูกของถั่วเหลืองบางพันธุ์และผลของวิธีการลดความชื้นต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์
บงกช สงวนสัตย์
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. (เกษตรศาสตร์) พืชไร่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 110 หน้า. - 28.การศึกษาเชื้อรา Cercospora kikuchii (Matsumoto & Tomoyasu) Gardner. ที่ทำให้เกิดโรคเมล็ดสีม่วงกับถั่วเหลือง (Glycine max (L.) Merrill)
วิเชียร เอกศิริวรานนท์
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เกษตรศาสตร์)) โรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 130 หน้า. - 29.อิทธิพลของระยะสุกแก่ทางสรีรวิทยา วิธีการเก็บเกี่ยวและสภาพการเก็บรักษา ที่มีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองฝักสดพันธุ์เชียงใหม่ 1
ศิรกานต์ มุกดาหาร
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2545. 94 หน้า. - 30.การศึกษาหาแนวทางการอบแห้งเมล็ดถั่วเหลืองแบบเป็นงวดที่เหมาะสม : การทดลองและจำลองแบบปัญหาทางคณิตศาสตร์
สุภวรรณ วชิรมน
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2533. 126 หน้า. - 31.คุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองหลังเร่งอายุการเก็บเกี่ยวด้วยสารเคมีชนิดต่างๆ ในช่วงฤดูฝน
ระวิ พงศตานิ
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2544. 70 หน้า - 32.การสะสมน้ำหนักแห้งในเมล็ด ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตของถั่วเหลืองพันธุ์และสายพันธุ์ต่าง ๆ ในสภาพการระบาดของโรคราสนิมถั่วเหลือง
ทนงศักดิ์ มณีวรรณ
วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 112 หน้า - 33.การวิเคราะห์สารให้กลิ่นในถั่วเหลืองหมัก
สมเกียรติ กรวยสวัสดิ์
การค้นคว้าแบบอิสระ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนเคมี)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 101 หน้า - 34.การประเมินความแข็งแรง การเจริญเติบโต และผลผลิตถั่วเหลืองจากเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการเร่งอายุ
สุชาดา ยุติวงษ์
วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เกษตรศาสตร์ (สาขาวิชาพืชไร่) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 54 หน้า. - 35.การประเมินพันธุ์ถั่วเหลือง (1) ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์
สุชาดา เวียรศิลป์ และนงลักษณ์ ประกอบบุญ
รายงานการวิจัย. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2536. 24 หน้า - 36.ความมีชีวิตและอัตราการหายใจของเมล็ดถั่วเหลือง (Glycine max L.) พันธุ์ สจ.4
สมจิต มุ่งกลาง
การค้นคว้าแบบอิสระเชิงวิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนวิชาชีววิทยา)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2528. 154 หน้า. - 37.ผลกระทบของอุณหภูมิอบแห้งต่อคุณภาพ (สี, ดัชนีการกระจายตัวของโปรตีนและความคงตัว) ของแป้งถั่วเหลืองชนิดไขมันเต็ม
เผด็จศักดิ์ จำปา
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. วิศวกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2539. 131 หน้า. - 38.การทดสอบและประเมินผลพัดลมทำความสะอาดในการทำความสะอาดเมล็ดถั่วเหลือง
กนก คีรีแลง และเสรี ภู่ระย้า
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2536. 36 หน้า. - 39.การศึกษาสมรรถนะของเครื่องลดความชื้นเมล็ดพันธุ์พืชแบบใช้แสงอาทิตย์และลมร้อนไหลแบบบังคับ
รัชดาภรณ์ แก้วกล่ำ; วัชระ เพิ่มชาติ และจิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4. วิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน วันที่ 13-14 มีนาคม 2546. ณ เคยู โฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน. 666 หน้า. - 40.ประสิทธิผลของเชื้อราปฏิปักษ์ Trichoderma spp. ต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของถั่วเหลืองในระยะต้นอ่อน
เกศิณี แก้วมาลา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคพืช) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 76 หน้า. 2551.