ชื่อสามัญ : ปอ (jute, corchorus)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Corchorus spp.
ตระกูล : Tiliaceae
พบทั้งสิ้น 29 เรื่อง
- 1.การทดสอบประสิทธิภาพและปรับปรุงแก้ไขเครื่องลอกปอ
สำรวย เข็มทองหลาง และสุพจน์ ถาไชยลา
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2529. 43 หน้า - 2.การดัดแปลงเครื่องเกี่ยวข้าวแบบใช้ Cutter Bar เพื่อใช้ตัดปอ
ไพรวัลนย์ บุญปัญญา และวัลลภ ทองสร้อย
รายงานการวิจัย ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2533. 33 หน้า. - 3.การปรับปรุงและทดสอบเครื่องลอกปอ
สง่า สืบสอาด และวิชัย จรุงศิรวัฒน์
รายงานการวิจัย ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2528. 22 หน้า - 4.การเปรียบเทียบคุณภาพเส้นใยปอที่ได้จากเครื่องลอกปอกลีบสดและแบบดั้งเดิม
สุนทร วจีวรสิทธิ์ และธีรพงษ์ ปากเมย
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2526. 38 หน้า - 5.การทดสอบและประเมินผลเครื่องลอกปอแบบลูกตีเดี่ยว สำหรับปอแก้วพันธุ์พื้นเมือง และปอแก้วพันธุ์โนนสูง 2
สุภาษิต เสงี่ยมพงศ์
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) สาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2534. 189 หน้า. - 6.การศึกษาแนวทางการปรับปรุงเครื่องนวดข้าวแบบไหลตามแกนสำหรับนวดเมล็ดพันธุ์ปอคิวบา
เสรี วงส์พิเชษฐ
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) สาขาวิชาเครื่องจักรกลการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2534. 103 หน้า. - 7.การออกแบบและประเมินผลเครื่องเก็บเกี่ยวปอ
ประหยัด ไพศาลพงษ์
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) สาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2538. 106 หน้า. - 8.ระยะเวลาเก็บเกี่ยวปอแก้วที่เหมาะสมในการผลิตเมล็ดพันธุ์ (พันธุ์โนนสูง 2) (ระยะที่ 1)
พรพรรณ สุทธิแย้ม สุพจน์ หมื่นวณิชกุล และ สวัสดิ์ เสริมทรัพย์
รายงานประจำปี 2534 ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. อุบลราชธานี. - 9.ระยะเวลาเก็บเกี่ยวปอแก้วที่เหมาะสมในการผลิตเมล็ดพันธุ์ (พันธุ์โนนสูง 2) (ระยะที่ 2)
สุพจน์ หมื่นวณิชกุล สวัสดิ์ เสริมทรัพย์ และ พรพรรณ สุทธิแย้ม
รายงานประจำปี 2535 ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. อุบลราชธานี. - 10.ผลของอายุเก็บเกี่ยวและการลอกปอกลีบต่อคุณภาพเส้นใยหลังการแช่ฟอก
นิลุบล ทวีกุล วีรชาติ แสงสิทธิ์ อมรา บัณฑิตวงษ์ และ สมศักดิ์ ชูพันธุ์
รายงานผลงานวิจัยประจำปี 2535 ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น - 11.การศึกษาปริมาณเส้นใยปอสาบางสายพันธุ์ที่พบในภาคเหนือ
พงศ์พันธุ์ จึงอยู่สุข อำไพ เจริญวงศ์ อินรัตน์ เสราดี และ เพิ่มศักดิ์ สุภาพรเหมินทร์
รายงานผลการวิจัยประจำปี 2535 ข้าวโพด ทานตะวัน ถั่วลิสง และพืชท้องถิ่นที่สำคัญ ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ และสถานีทดลองพืชไร่ศรีสำโรง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, เชียงใหม่. หน้า 158-165. 420 หน้า. - 12.ศึกษาวิธีและอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ปอกระเจา
ไพศาล ศุภางคเสน สำนอง นวลอ่อน วีรชาติ แสงสิทธิ์ เศรณี วงศ์คำจันทร์ และ นิลุบล ทวีกุล
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 13.ศึกษาการใช้เชื้อจุลินทรีย์เพื่อพัฒนาการแช่ฟอกปอ
ศรีสุดา พิทยรักษ์ แฉล้ม มาศวรรณา มณเทียร โสมภีร์
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 14.ระยะเวลาเก็บเกี่ยวปอแก้วที่เหมาะสมในการผลิตเมล็ดพันธุ์ (พันธุ์โนนสูง 2) (ระยะที่ 3)
สุพจน์ หมื่นวณิชกุล สวัสดิ์ เสริมทรัพย์ และ พรพรรณ สุทธิแย้ม
รายงานประจำปี 2536 ศูนย์วิจัยพืชไร่อุบลราชธานี สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. อุบลราชธานี. - 15.การสำรวจการผลิตปอในประเทศไทย
ศรีสุดา ทิพยรักษ์ มณเฑียร โสมภีร์ และ แฉล้ม มาศวรรณา
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 16.การศึกษาสัดส่วนที่เหมาะสมของน้ำแช่ฟอกต้นปอสดหรือห่อกลีบสดกับเวลาในการแช่ฟอกและคุณภาพของเส้นใย
แฉล้ม มาศวรรณา มณเฑียร โสมภีร์ และ ทองปูน เพ่งหากิจ
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 17.การศึกษาฟอกสีเส้นใยปอแบบประหยัดโดยใช้น้ำมะขาม 2 หรือสารละลายกรดทาร์ทาริด
แฉล้ม มาศวรรณา มณเฑียร โสมภีร์ และ ทองปูน เพ่งหากิจ
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 18.การศึกษาเปรียบเทียบการแช่ฟอกปอกลีบสดและปอกลีบแห้งกับการแช่ฟอกตามปกติ
แฉล้ม มาศวรรณา มณเฑียร โสมภีร์ และ ทองปูน เพ่งหากิจ
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า. - 19.การศึกษาปริมาณและคุณภาพของเส้นใยปอสาบางสายพันธุ์
พงศ์พันธุ์ จึงอยู่สุข เพิ่มศักดิ์ สุภาพรเหมินทร์ และ อำไพ เจริญวงศ์
รายงานผลการวิจัยประจำปี 2536 ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ และสถานีทดลองพืชไร่ศรีสำโรง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, เชียงใหม่. - 20.การศึกษาค่าใช้จ่ายในการแช่ฟอกและสกัดเส้นใยปอวิธีแนะนำในสภาพไร่นา
แฉล้ม มาศวรรณา มณเฑียร โสมภีร์ ทองปูน เพ่งหากิจ และ ศรีสุดา ทิพยรักษ์
รายงานผลงานวิจัยปี 2536 (เล่ม 2) ปอ-ป่าน ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ขอนแก่น. 394 หน้า.