ชื่อสามัญ : มะม่วง (mango)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica
ตระกูล : Anacardiaceae
พบทั้งสิ้น 1266 เรื่อง
- 321.ประสิทธิภาพของสารกลุ่ม active oxygen ในการควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออก
กานดา หวังชัย และจำนงค์ อุทัยบุตร
เอกสารประกอบการประชุม วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 ‘วิธีวิจัย: สู่สังคมร่มรื่นและเป็นสุข’, วันที่ 23-25 พฤศจิกายน 2550 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่.496 หน้า. - 322.การทดสอบฤทธิ์ต้านเชื้อรา Colletotrichumgloeosporioides (Penz.) สาเหตุโรคแอนแทรคโนสมะม่วงของสารสกัดจากพืชสมุนไพรตัวทำลายที่แตกต่าง
วิไลรัตน์ ศรีนนท์ ธีรพล วันทิตย์ และเกษม สร้อยทอง
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 (พิเศษ).หน้า 75-78. 2552. - 323.การติดเชื้อแบบแฝงของเชื้อ Colletotricum gloeosporioides Penz. ในมะม่วงพันธุ์มหาชนก
ดวงใจ มูลเขียน
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545. 73 หน้า. - 324.ผลของระยะความแก่และอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงพันธุ์มหาชนก
จุลจิรา การสมวาสน์
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545. 164 หน้า. - 325.การเปลี่ยนแปลงแอคติวิตีของเอนไซม์ Pectinmethylesterase และ polygalacturonase และความแน่นเนื้อในระหว่างการสุกของผลมะม่วง
ศมาพร หลากสุขถม
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545. 172 หน้า. - 326.การหาระดับความแก่สำหรับเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงเพื่อการบริโภคสดแบบไม่ทำลายตัวอย่างโดยใช้เนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
ศิรินนภา ศรัณย์วงศ์
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545. 176 หน้า. - 327.ผลของการใช้ความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงโปรตีนระหว่างการเกิดอาการสะท้านหนาวของผลมะม่วงพันธุ์โชคอนันต์
วีรพล โพธิ์สว่าง
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546. 190 หน้า. - 328.ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากดีปลีเพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสในผลมะม่วง
วนัสนันท์ สะอาดล้วน
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548. 91หน้า. - 329.การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียจากผิวของผลสตรอเบอรี่ มะม่วง และส้มเพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum spp. โดยชีววิธี
ธนวันต์ กันทา
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548. 96 หน้า. - 330.การพัฒนาแบบสีบ่งชี้อายุการเก็บรักษาผักผลไม้สดตัดแต่งพร้อมบริโภคในเชิงพาณิชย์
วรภัทร ลัคนทินวงศ์ และอรรถวุทธิ์ รื่นเริงใจ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า. 323-326. 2552. - 331.การใช้เทคนิคสเปกโทรสโคปีย่านคลื่นใกล้อินฟราเรด (NearInfrared spectroscopy, NIR) ในการติดตามคุณภาพของมะม่วงสำหรับการผลิตมะม่วงตัดแต่งพร้อมบริโภค
ภาริกา รุ่งพิชยพิเชษฐ์ และบุศรากรณ์ มหาโยธี
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า 343-346. 2552. - 332.ผลของอุณหภูมิต่ำต่อเลนติเซลของผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้เบอร์ 4
วิชชา สอาดสุด เสาวนี แก้วพระเวช และปริญญา จันทรศรี
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า 605-608 2552. - 333.ประสิทธิภาพของสารละลายโซเดียมไฮโพคลอไรต์และกรดเพอร์ออกซีแอซีติกในการลดจำนวนจุลินทรีย์ที่เปลือกของผลมะม่วง
เฉลิมขวัญ วิชัยชาติ นิธิยา รัตนาปนนท์ อุษาวดี ชนสุต และเมธินี เห่วซึ่งเจริญ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า 662-665. 2552. - 334.ผลของสารต้านทานเชื้อราที่มีในยางของผลมะม่วงต่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงเขียวมรกต
วิลาวัลย์ คำปวน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า 679-682. 2552. - 335.การเปลี่ยนแปลงของสารต้านอนุมูลอิสระระหว่างการพัฒนาของผลไม้และผลของ jasmonate derivative ที่มีต่อการลดอาหารสะท้านหนาวในผลไม้เมืองร้อน
มลฤดี กิตติกรณ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 108 หน้า. 2547. - 336.การเปรียบเทียบภาชนะบรรจุเพื่อการขนส่งมะม่วง
ดวงพร ดีผดุง
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการบรรจุ) คณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.104หน้า.2548. - 337.การพัฒนากรรมวิธีการเก็บรักษาสำหรับมะม่วงสดตัดแต่งที่ผ่านกระบวนการแปรรูปขั้นต่ำ
ขวัญจิตต์ อนุกูลวัฒนา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 158 หน้า. - 338.ผลของการเจริญแข่งขันของเชื้อราและซาลโมเนลลาและการลดการปนเปื้อนของเชื้อราและซาลโมเนลลาในมะม่วง
นันทิดา ทัศพร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์การอาหาร) คณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 115 หน้า. 2548. - 339.ฟิล์มบริโภคได้จากเนื้อมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้ เพื่อใช้เคลือบผิวผลมะม่วงสดเพื่อตลาดส่งออก และมะม่วงตัดแต่งที่เก็บในบรรจุภัณฑ์ที่มีการดัดแปรบรรยากาศ
ภัทราทิพย์ รอดสำราญ
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมการอาหาร)คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 117 หน้า.2548. - 340.การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางจุลินทรีย์ เคมี กายภาพ และทางประสาทสัมผัสของมะม่วงสดตัดแต่งของไทยที่ผ่านกระบวนการแปรรูปน้อยที่ สุดและบรรจุแบบดัดแปลงบรรยากาศ
มนัชญา งามศักดิ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีอาหาร) คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 249 หน้า. 2548.