ชื่อสามัญ : ลำไย (longan)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dimocarpus longan
ตระกูล : Sapindaceae
พบทั้งสิ้น 298 เรื่อง
- 41.ผลของการใช้ความร้อนต่อโปรตีนในเปลือกผลลำไยระหว่างการสะท้านหนาว
ศิริโสภา อินขะ และ ดนัย บุณยเกียรติ
วารสารเกษตร 20 (1) : 66-74 (2547) - 42.การจำแนกสารประกอบฟีนอลในเปลือกผลลำไยพันธุ์ดอปกติและที่เกิดอาการสะท้านหนาว
สมคิด ใจตรง, นิธิยา รัตนาปนนท์, จอนห์ แมนที และอิลิซาเบต บาลด์วิน
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 43.การใช้ Citric Acid เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาลำไยทดแทนการรมด้วย SO2
รัมม์พัน โกศลานันท์ เพ็ญศิริ จำรัสฉาย อารีรัตน์ การุณสถิตย์ชัย และ วีรภรณ์ เดชนำบัญชาชัย
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 44.การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวลำไยผลสดเพื่อบริโภคในประเทศและส่งออกในเขตภาคเหนือตอนบน
วาสนา ณ ฝั้น จิราภรณ์ สอดจิตร์ และ ธีรพร กงบังเกิด
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 45.ผลของสารเคลือบ Sucrose Fatty Acid Ester ต่อการเกิดสีน้ำตาลของเปลือกผลลำไยพันธุ์ดอ
สถาพร ผมรี อภิรดี อุทัยรัตนกิจ และ ศิริชัย กัลยาณรัตน์
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 46.การควบคุมเชื้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยว Lasiodiplodia spp. โดยชีววิธี
กาญจนา นิรภัย อุราภรณ์ สอาดสุด และ เอกชัย ชูเกียรติโรจน์
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 47.ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิตลำไยนอกฤดูกาล
ณัฏฐพล ยั่งยืน
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 173 หน้า - 48.การออกแบบและประเมินสมรรถนะระบบอบแห้งสุญญากาศแบบหัวฉีดน้ำ
พยุงศักดิ์ บุญสิทธิ์
วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 245 หน้า. - 49.การออปติไมซ์การใช้พลังงานในการอบแห้งลำไยแบบเบดอยู่กับที่
วีรศักดิ์ วงศาสุราฤทธิ์
วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2546. 128 หน้า. - 50.การเปรียบเทียบพลังงานการอบแห้งลำไยที่ได้ผลจากการใช้และไม่ใช้สารโปแตสเซียมคลอเรต
สารภี ชัญถาวร
วิทยานิพนธ์ (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545. 107 หน้า - 51.การศึกษาวิธีการเก็บรักษาลำไยโดยใช้แผนการทดลองทางสถิติ
นางรัชนี ตียพันธ์ ไพทูรย์ ตันฆศิริ ชลิฎา นิภารักษ์ สุภาพ เดชะรินทร์ อังกาบ บุญย้อย นภดล เล็กสวัสดิ์ อันธิกา สุปริยศิลป์ วัฒนาวดี ศรีวัฒนพงศ์ และ พุฒิพงษ์ พุกกะมาน
รายงานวิจัย ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , 2534. 85 หน้า. - 52.ผลการยับยั้งของจุลินทรีย์ที่ผลิตไคติเนสต่อเชื้อราสาเหตุของโรคในมะม่วงและลำไย
อภิญญา ผลิโกมล ศิริลาภา สมานมิตร และเครือวัลย์ ทองเล่ม
รายงานการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่, 2545. 60 หน้า - 53.การพัฒนาเครื่องอบลำไยทั้งเปลือกด้วยระบบสลับหมุนเวียนลมร้อน
ศุภศักดิ์ ลิมปิติ
รายงานวิจัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่, 2544. 39 หน้า - 54.การศึกษาการอบแห้งลำไยโดยใช้ก๊าซหุงต้ม
วิวัฒน์ คล่องพานิช และชลธิศ ศรีสัตบุตร
ทุนสนับสนุนงานวิจัยจากเงินรายได้ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 36 หน้า. - 55.การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของลำไยกระป๋อง เนื้อลำไยอบแห้งและลำไยอบแห้งทั้งเปลือกที่ทำมาจากลำไยที่ไม่ใช้และลำไยที่ใช้โปแทสเซียมคลอเรต
รัตนา อัตตปัญโญ
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545. 43 หน้า - 56.วิธีการยืดอายุการเก็บรักษาลำไยสดเพื่อการแปรรูปเป็นเนื้อลำไยอบแห้งในเชิงพาณิชย์
รัตนา อัตตปัญโญ และอัจฉรา เทียมภักดี
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่, 2542. 122 หน้า. - 57.การใช้ตู้อบแสงอาทิตย์เพื่อการตากแห้ง
ปราณี บุญถนอม
รายงานการวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 2531. 27 หน้า - 58.ผลของสารถนอมอาหารและสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ต่อคุณภาพของผลลำไยพันธุ์ดอหลังการเก็บเกี่ยว
ปิยจิตรา ศรีวรกุล
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545. 229 หน้า. - 59.ผลของสารประกอบเกลือร่วมกับสารเคลือบผิวในการควบคุมการเน่าเสียของผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
กรรณพต แก้วสอน
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545. 93 หน้า. - 60.การศึกษาสารให้กลิ่นของลำไยสดและลำไยกระป๋องพันธุ์อีแดง
จริยา ปิติพรณรงค์
การค้นคว้าแบบอิสระ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการสอนเคมี)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 77 หน้า.