ชื่อสามัญ : ลำไย (longan)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dimocarpus longan
ตระกูล : Sapindaceae
พบทั้งสิ้น 298 เรื่อง
- 141.Mass Transfer Kinetics of Longan Leather between Far Infrared and hot Air Drying
J. Somkiat and T. Kiatsiriroat
Program and Abstracts, 3rd International Symposium on Longan, Lychee and Other Fruit Trees in Sapindaceae Family, August 25-29, 2008, Fuzhou, China. 132 pages - 142.Determination of Gallic Acid in Longan Fruits by High Performance Liquid Chromatography
C.U. Ma, H. Tao and F.H. Ma
Program and Abstracts, 3rd International Symposium on Longan, Lychee and Other Fruit Trees in Sapindaceae Family, August 25-29, 2008, Fuzhou, China. 132 pages. - 143.การศึกษาผลร่วมของการใช้ก๊าซ SO2 แบบ slow release กับถุงพลาสติกชนิดต่างๆ ต่อการควบคุมโรคผลเน่าของลำไยพันธุ์ดอในระหว่างการเก็บรักษา
ผ่องเพ็ญ จิตอารีย์รัตน์ และ อภิรดี อุทัยรัตนกิจ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 209-212. - 144.การทำแห้งลำไยแผ่นโดยใช้เตาอบพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับเตาอบลมร้อน
กอบพัชรกุล เป็นบุญ รัตนา อัตตปัญโญ และ สายลม สัมพันธ์เวชโสภา
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 309-312. - 145.การนำความร้อนเหลือทิ้งกลับมาใช้ในกระบวนการอบแห้งลำไย
ทวีชัย นิมาแสง และ ณัฐวุฒิ เนียมสอน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 313-316. - 146.อิทธิพลของอุณหภูมิที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีของลำไยแบบคว้านเมล็ดออกภายใต้การอบแห้งด้วยไอน้ำร้อนยวดยิ่งและลมร้อน
ปิยะวรรณ มาศิริ และ ยุวนารี นามสงวน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 375-378. - 147.การศึกษาการใช้สารซัลเฟอร์ไดออกไซด์รมลำไยสดเพื่อการส่งออก
บุษรา จันทร์แก้วมณี เกรียงไกร สุภโตษะ รุ่งทิวา รอดจันทร์ และอุมาภรณ์ สุจริตทวีสุข
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 383-386. - 148.ความสามารถในการรับแรงกระแทกของผลลำไยพันธุ์ดอ
นวลฉวี ปงรังษี ศุภศักดิ์ ลิมปิติ และ นิธิยา รัตนาปนนท์
บทคัดย่อ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 5, โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน กรุงเทพมหานคร, 28-29 มิถุนายน 2550. 151 หน้า. - 149.ใยอาหารทั้งหมด เพคติน และลิกนิน ในเปลือกผลลำไยพันธุ์ดอระหว่างเกิดอาการสะท้านหนาว
สมคิด ใจตรง นิธิยา รัตนาปนนท์ ดนัย บุณยเกียรติ และ อลิทซาเบธ บาวด์วิน
บทคัดย่อ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 5, โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชัน กรุงเทพมหานคร, 28-29 มิถุนายน 2550. 151 หน้า. - 150.การแช่กรดทางเลือกใหม่ที่ทดแทนการรมด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในลำไย
รัมม์พัน โกศลานันท์ อารีรัตน์ การุณสถิตย์ชัย และ วีรภรณ์ เดชนำบัญชาชัย
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (พิเศษ). 2551. หน้า 39-42. - 151.ผลของไคโตซานต่อการสร้างสารต้านเชื้อรา Lasiodiplodia sp.ในลำไยพันธุ์ดอก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว
ปิยะวรรณ ขวัญมงคล และ อุราภรณ์ สอาดสุด
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (พิเศษ). 2551. หน้า 249-252. - 152.การใช้สารฆ่าเชื้อชนิดต่างๆ ในการลดจำนวนเชื้อจุลินทรีย์ของเปลือกและเนื้อลำไยพันธุ์ดอ
ดนุนุช บุนนาค นิธิยา รัตนาปนนท์ และ เมธินี เห่วซึ่งเจริญ
บทคัดย่อ การสัมมนาวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 6, โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น, 14-15 สิงหาคม 2551. 182 หน้า. - 153.การวิเคราะห์การกระจายของแรงในการคว้านเมล็ดลำไย
ประยูร จอมหล้าพีรติกุล และ วิวัฒน์ คล่องพานิช
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตร แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจำปี 2550,โรงแรมโซฟิเทล ราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น,22-24 มกราคม 2550. 204 หน้า. - 154.พัฒนาเครื่องวัดความชื้นลำไยอบแห้งทั้งเปลือก
ชูศักดิ์ ชวประดิษฐ์ อารีย์ ทิมินกุล ปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร และปรีชา อานันท์รัตนกุล
ผลงานวิจัยสถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม ปี 2548 กลุ่มวิจัยวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร. 9 หน้า. - 155.การออกแบบห้องลมร้อนเพื่อติดตั้งเข้ากับเตาอบลำไยแบบกระบะ
เกรียงศักดิ์ นักผูก ประยูร จอมหล้าพีระติกุล และ สนอง อมฤกษ์
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9ประจำปี 2551,โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง จ.เชียงใหม่,31 มกราคม –1 กุมภาพันธ์ 2551. 203 หน้า. - 156.การจำลองปัญหาการช้ำของลำไยโดยใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
อุทิศ สุริภา อริสรา ชัยกิตติรัตนา และ นิวัตร มูลปา
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9ประจำปี 2551,โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง จ.เชียงใหม่,31 มกราคม –1 กุมภาพันธ์ 2551. 203 หน้า. - 157.ผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลำไย
สิคีริยา เรืองยุทธิการณ์
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545. 176 หน้า. - 158.ความสามารถในการแข่งขันของการส่งออกผลผลิตลำไยสดของภาคเหนือของประเทศไทย
อารณี อินต๊ะไพร
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.2546 .171 หน้า. - 159.กระบวนการตัดสินใจซื้อลำไยสด: กรณีศึกษาเปรียบเทียบผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร
รสรินทร์ คำมารุณ
วิทยานิพนธ์ธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547. 69 หน้า. - 160.สมรรถนะการกำจัดโซ่อุปทานลำไยเพื่อการส่งออกของประเทศไทย
จงกลบดินทร์ แสงอาสภวิริยะ, ศิริกุล ตุลาสมบัติ และนิตยา ถาวัน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3(พิเศษ). หน้า 198-201. 2552.