ชื่อสามัญ : ทุเรียน (durian)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Durio zibethinus
ตระกูล : Bombacaceae
พบทั้งสิ้น 153 เรื่อง
- 1.การใช้เทคนิค X-ray ตรวจสอบความแก่ของผลทุเรียน
กัลย์ กัลยาณมิตร
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541. 107 หน้า. - 2.การชะลอการสุกและการแตกของผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองโดยการเคลือบผิวด้วยอีมัลชั่น
นิธิยา รัตนาปนนท์ ดนัย บุณยเกียรติ และทองใหม่ แพทย์ไชโย
วารสารเกษตร ปีที่ 15 ฉบับที่ 2, 2542. หน้า 149-155 - 3.Fruit dehusking and pulp storage of ‘Monthong’ durian (Durio zibethinus Murr.)
J. Siriphanich , D. Pankilib
Dept. of Horticulture, Kasetsart Univ., Kamphaengsaen, Nakhonpathom, 73140, Thailand - 4.Growth, maturation and maturity index of ‘Monthong’ durian
Jingtair Siriphanich and Peerapong Sangwanangkul
Thai Journal of Agricultural Science. Vol. 33, No. 1-2, Year 2000. p. 75-82. - 5.อิทธิพลของเอทีฟอนต่อพัฒนาการและคุณภาพของผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองหลังการเก็บเกี่ยว
สุมิตร คุณเจตน์ พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล และ จริงแท้ ศิริพานิช
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 33 ฉบับที่ 6 (พิเศษ). 2545. หน้า 40-44 - 6.การจัดการโรคผลเน่าของทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) ที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora (Butl.) Butl
ปัญจมา กวางติ้ด และ สมศิริ แสงโชติ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 33 ฉบับที่ 6 (พิเศษ). 2545. หน้า 45-48 - 7.การหาดัชนีความสุกแก่ของทุเรียนพันธุ์หมอนทองโดยใช้ความถี่ธรรมชาติและความแข็งแรงก้าน
ณัฐวุฒิ เนียมสอน และ อนุพันธ์ เทอดวงศ์วรกุล
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 4-6 (พิเศษ). 2546. หน้า 17-20 - 8.ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ตอบสนองสูงสุดและระยะเวลาในการเก็บรักษาทุเรียนหมอนทอง
นิยม สมบัติวงศ์ ราชันย์ ทองรอด และ สมชาย อรุณรุ่งรัศมี
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 4-6 (พิเศษ). 2546. หน้า 21-24 - 9.ผลของการใช้โอโซนในการควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวของเงาะ ทุเรียน และมะม่วง
ดวงธิดา ขุมทอง มนตรี อิสรไกรศีล วาริน อินทนา หมุดตอเล็บ หนิสอ และ ประคอง เย็นจิตต์
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (พิเศษ). 2549. หน้า 112-115 - 10.การทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคต่างชาติต่อทุเรียนพร้อมรับประทาน
อุมาภรณ์ สุจริตทวีสุข เบญจมาส รัตนชินกร และอนุวัตร แจ้งชัด
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (พิเศษ). 2549. หน้า 285-288 - 11.การยืดอายุการเก็บรักษาผลทุเรียนสดและเนื้อทุเรียนพร้อมรับประทาน
สุธีรา วัฒนกุล
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) ภาควิชา พัฒนาผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2546. 139 หน้า - 12.ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่ส่งออกไปยังไต้หวัน
โชติช่วง เยี่ยมฉวี
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2546. 84 หน้า - 13.ผลของระดับการให้น้ำต่อน้ำหนักแห้งของเนื้อและคุณภาพการบริโภคของทุเรียนพันธุ์หมอนทอง
ทรงกลด จีรพัฒน์ และจริงแท้ ศิริพานิช
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 14.ผลของอุณหภูมิและชนิดของฟิล์มต่อการเปลี่ยนแปลงทางเนื้อทุเรียนพันธุ์หมอนทองพร้อมบริโภค
ต้นวงศ์ สุดโต อภิรดี อุทัยรัตนกิจ ศิริชัย กัลยาณรัตน์ วาริช ศรีละออง และเฉลิมชัย วงศ์อารีย์
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 15.สารหอมระเหยในทุเรียนหมอนทองหลังการเก็บเกี่ยว
อรพิน เกิดชูชื่น ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์ และ พัชราภรณ์ ตรีเพ็ชร์
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 16.การวิเคราะห์การส่งออกสินค้าเกษตรไม่แปรรูปของไทยภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน : กรณีศึกษาทุเรียน
พิเชษฐ เข็มทอง
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 140 หน้า. - 17.อิทธิพลของอายุผล อุณหภูมิในการเก็บรักษา และฟิล์มพลาสติกต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาเนื้อทุเรียนพันธุ์หมอนทอง
มาลี ทองแดง
วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 160 หน้า. - 18.การควบคุมโรคผลเน่าของทุเรียนแบบผสมผสาน
สมศิริ แสงโชติ รัติยา พงศ์พิสุทธา และ รัตตา อเนกธนโชติ
รายงานโครงการวิจัยของ สกว., รหัสโครงการ: RDG4120029. ระยะเวลาโครงการ พฤษภาคม 2541 – เมษายน 2543. 99 หน้า. - 19.การตรวจหาความแก่อ่อนของทุเรียนโดยการสั่นสะเทือนเปรียบเทียบกับการใช้อุลตร้าโซนิกส์
วุฒิวัฒน์ คงรัตนประเสริฐ
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2543. 159 หน้า. - 20.การคัดเลือกและการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรครากและโคนเน่าของทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivory (Butl.) Butl.
สุภาพร อวรัญ
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์), โรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2537. 118 หน้า.