ชื่อสามัญ : มะพร้าว (coconut)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cocos nucifera
ตระกูล : Arecaceae
พบทั้งสิ้น 103 เรื่อง
- 1.การลดปริมาณโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์เพื่อป้องกันการเกิดสีน้ำตาลและเชื้อราบนผลมะพร้าวอ่อนที่ปอกเปลือกแล้ว
จริงแท้ ศิริพานิช และโสภิดา ริยะกุล
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2549. หน้า 50-53 - 2.การช้ำของผลมะพร้าวอ่อนภายใต้การกระแทก
บัณฑิต จริโมภาส และ ธนรัตน์ ศรีรุ่งเรือง
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2549. หน้า 240-243 - 3.พัฒนาการเครื่องเปิดผลมะพร้าวอ่อน
ปราโมทย์ กุศล และ บัณฑิต จริโมภาส
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2549. หน้า 284-287 - 4.อุปกรณ์วัดหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของผลไม้
บัณฑิต จริโมภาส และ วีรกุล มีกลางแสน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 37 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2549. หน้า 296-299 - 5.การพัฒนาเครื่องปอกเปลือกผลมะพร้าวอ่อน
ณัฐพงศ์ รัตนเดช
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2547. 104 หน้า - 6.อิทธิพลของระยะเวลาและระดับอุณหภูมิในการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะพร้าวอ่อน
สมฤดี ฤดีเจริญสกุล และสมชาย กล้าหาญ
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 7-10 พฤศจิกายน 2549. ณ โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่. 420 หน้า - 7.เครื่องเปิดผลมะพร้าวอ่อน
บัณฑิต จริโมภาส กิตติเดช โพธิ์นิยม และศุภชาติ สุขารมณ์
รายงานการวิจัยและพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 2532. 43 หน้า. - 8.การศึกษาหลักการการทำงานของเครื่องคั้นน้ำกะทิแบบใช้เกลียว
กวีพงษ์ หงษ์ทอง
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2542. 52 หน้า. - 9.การศึกษาเครื่องคั้นน้ำกะทิแบบลูกกลิ้ง
จิระศักดิ์ เสนจันทร์ฒิไชย และเกษร มีหอม
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539. 48 หน้า. - 10.การศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อเครื่องคั้นกะทิแบบใช้มือโยก
สุวันชัย นาดี และสิทธิโชค เอี่ยมอ่ำ
รายงานของนักศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539. 47 หน้า. - 11.การพัฒนาวัสดุกันช้ำจากกระดาษฝอยเพื่อปกป้องผลไม้จากการกระแทกและการจำแนกระยะการเจริญเติบโตของผลมะพร้าวอ่อนด้วยสมบัติทางกายภาพ, เชิงกล, สรีรวิทยา และเสียง
ทรงธรรม ไชยพงษ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 135 หน้า. 2552. - 12.การยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลบนเปลือกมะพร้าวน้ำหอมโดยใช้สารป้องกันการเกิดสีน้ำตาลร่วมกับการหุ้มฟิลม์โพลีไวนิลคลอไรด์
ลัดดาวัลย์ โกวิทย์เจริญ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 159 หน้า. 2552. - 13.การออกแบบและพัฒนาเครื่องปอกเปลือกผลมะพร้าวอ่อนแบบอัตโนมัติ
ณัฐพงศ์ รัตนเดช
วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 163 หน้า. 2553. - 14.ปัจจัยที่มีผลต่อการตกค้างของสารโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ในผลมะพร้าวอ่อน
กิรนันท์ เหมาะประมาณ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 66 หน้า. 2553. - 15.การช้ำของเปลือกมังคุดและเปลือกผลมะพร้าวอ่อนเมื่อรับภาระเชิงกล
อุดมศักดิ์ กิจทวี
วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 111 หน้า. 2554. - 16.การพัฒนาเครื่องกลคัดขนาดผลชมพู่และเทคนิคแบบไม่ทำลายสำหรับการประเมินวัยของมะพร้าวอ่อน
กระวี ตรีอำนรรค
วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 155 หน้า. 2554. - 17.การพัฒนากระบวนการเพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะพร้าว
สุทธิลักษณ์ พุ่งมณีสกุล
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 154 หน้า. 2554. - 18.ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวอ่อน
เกรียงไกร มีถาวร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 121 หน้า. - 19.การใช้สารทดแทนโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ เพื่อลดการเกิดสีน้ำตาลในมะพร้าวน้ำหอม
พนิดา พวงพันธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 134 หน้า. 2554. - 20.A young-coconut-fruit-opening machine
Bundit Jarimopas and Pramote Kuson
Biosystems Engineering, Volume 98, Issue 2, October 2007, Pages 185-191