ชื่อสามัญ : ขิง (ginger)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber officinale
ตระกูล : Zingiberaceae
พบทั้งสิ้น 47 เรื่อง
- 1.ผลของสารสกัดจากพืชสมุนไพรและจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ต่อการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคเน่าของแง่งขิงระหว่างการเก็บรักษา
ชวเลิศ ตรีกรุณาสวัสดิ์ และ วิชัย ก่อประดิษฐ์สกุล
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 33 ฉบับที่ 6 (พิเศษ). 2545. หน้า 16-22 - 2.การศึกษาลักษณะการแผ่กระจายของรังสีอินฟราเรดเพื่อการอบลดความชื้นวัสดุเกษตร
สุพรรณ ยั่งยืน และ เสรี วงส์พิเชษฐ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 4-6 (พิเศษ). 2546. หน้า 209-212 - 3.ประสิทธิภาพของสารประกอบคลอรีนร่วมกับกรดอินทรีย์ในการลดปริมาณ Escherichia coli ในผักสด
ปิยาณี จันทปัญญาศิลป์
วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การอาหาร)) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542. 95 หน้า. - 4.การอบแห้งผักด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบใช้ไอน้ำเป็นพลังงานเสริมระดับอุตสาหกรรม
วีนัส ทัดเนียม
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. เทคโนโลยีพลังงาน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2542. 139 หน้า. - 5.การพัฒนากระบวนการทำแห้งขิง โดยการทำแห้งแบบใช้ลมร้อน การทำแห้งแบบลดความชื้นโดยใช้เครื่องสูบ และการทำแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสม
ศิรินทิพย์ หนองแสง
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการอาหาร) คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 93 หน้า. 2551. - 6.ดีซอร์พชันไอโซเทิร์มและลักษณะเฉพาะการทำแห้งของขิงโดยการทำแห้งแบบสองระยะ
สุภาวิณี แสนทวีสุข
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการอาหาร) คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 120 หน้า. 2552. - 7.ผลของระยะการเจริญเติบโตและการแปรรูปต่อปริมาณ 6-gingerol สมบัติการต้านออกซิเดชันและสมบัติการต้านจุลินทรีย์ของขิง (Zingiber officinale)
ธิดารัตน์ พีรภาคย์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การอาหาร) คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 140 หน้า. 2554. - 8.การศึกษากำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง (MRL) ในพืช 12 ชนิด
อารยา กำเนิดมั่น
ผลงานวิจัยนี้มีประโยชน์และโครงการวิจัยนี้เผยแพร่ ปีงบประมาณ 2548. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2548. 57 หน้า. - 9.Occurrence of ochratoxin A in black pepper, coriander, ginger and turmeric in India.
THIRUMALA – DEVI, K., MAYO, M.A., REDDY, G., EMMANUEL, K.E., LARONDELLE, Y. and REDDY, D.V.R.
Food Additives and Contaminants 18: 830 – 835. - 10.Biochemical changes and antioxidant activity of mango ginger (Curcuma amada Roxb.) rhizomes during postharvest storage at different temperatures
R.S. Policegoudra and S.M. Aradhya
Postharvest Biology and Technology, Volume 46, Issue 2, November 2007, Pages 189-194 - 11.ผลของการเคลือบผิวด้วยพาราฟินและชนิดของวัสดุห่อหุ้มที่มีต่อขิง
มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย พรพรรณ โสดาปัดชา และ นิภารัตน์ ทุมสิงห์
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 (พิเศษ). 2550. หน้า 91-94. - 12.การพัฒนากระบวนการทำแห้งขิงโดยการทำแห้งแบบใช้ลมร้อนและการทำแห้งแบบลดความชื้นโดยใช้เครื่องสูบ
ศิรินทิพย์ หนองแสง และ สิงหนาท พวงจันทน์แดง
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (พิเศษ). 2551. หน้า 111-114. - 13.การอบแห้งขิงด้วยไอน้ำร้อนยวดยิ่ง
อาทิตย์ จันทร์หิรัญ และ สมยศ เชิญอักษร
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตร แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจำปี 2550,โรงแรมโซฟิเทล ราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น,22-24 มกราคม 2550. 204 หน้า. - 14.การอบแห้งสมุนไพรด้วยเครื่องอบแห้งแบบลมร้อนร่วมกับอินฟราเรดไกล
กิตติศักดิ์ วิธินันทกิตต์ วทัญญู รอดประพัฒน์ ศรีมา แจ้คำ สุชาติ พินงรัมย์ และ คมเพชร พร้อมสุข
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 41 : 1 (พิเศษ) : 528-531 (2553) - 15.ผลของการทำแห้งแบบระยะเดียว และแบบสองระยะต่อคุณภาพของขิง
สุภาวิณี แสนทวีสุข และ สิงหนาท พวงจันทน์แดง
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 41 : 1 (พิเศษ) : 552-555 (2553) - 16.Ginger sprouting as affected by 1-methylcyclopropene (1-MCP)
Thanidchaya Puthmee, Songsin Photchanachai, Varit Srilaong and Apiradee Uthairatanakij
Book of abstracts, APS2010 & SEAsia2010 & GMS2010, August 2-4, 2010, Radisson Hotel, Bangkok, Thailand - 17.The major compounds of crude ginger (Zingiber officinale Roscoe) extracts from supercritical CO2 extraction
A. Sirichote, C. Puengphian, and B. Ooraikul
Book of Abstracts, Southeast Asia Symposium Quality and Safety of Fresh and Fresh Cut Produce Greater Mekong Subregion Conference on Postharvest Quality Management in Chains, August 3-5, 2009, Radisson Hotel, Bangkok, Thailand. - 18.ผลของอายุการเก็บเกี่ยวของเหง้าขิงต่อปริมาณ 6-gingerol และคุณสมบัติการต้านออกซิเดชัน
ธิดารัตน์ พีรภาคย์ และศศิธร ตรงจิตภักดี
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 42 : 1 (พิเศษ) : 287-290 (2554) - 19.อิทธิพลของอุณหภูมิอบแห้งที่มีต่อจลนพลศาสตร์การอบแห้ง ปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ และสีของขิง
ชโรธร โพธิ์วงศ์รติยา ธุวพาณิชยานันท์ และ ดลฤดี ใจสุทธิ์
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 43 (3พิเศษ): 460-463. 2555. - 20.Encapsulation for in vitro short-term storage and exchange of ginger (Zingiber officinale Rosc.) germplasm
S. Gopala Sundararaj, Anuradha Agrawal and Rishi K. Tyagi
Scientia Horticulturae, Volume 125, Issue 4, 26 July 2010, Pages 761-766