ชื่อสามัญ : ข่า (greater galanga)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Langus galanga, Alpinia galanga
ตระกูล : Zingiberaceae
พบทั้งสิ้น 9 เรื่อง
- 1.การยืดอายุการเก็บรักษาข่า โดยากรใช้ปริมาณสารดูดซับเอทธิลีนร่วมกับสัดส่วนของก๊าซ CO2:O2
กุลศิริ อดิเรกลาภ และสมชาย กล้าหาญ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 35 ฉบับที่ 5-6 (พิเศษ) สิงหาคม-ธันวาคม 2547. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 4. หน้า 313-317. - 2.คุณภาพของข่าอ่อนในระยะเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยว
อุบล ชินวัง
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 280 หน้า. 2553. - 3.ผลของน้ำมันหอมระเหยจากข่าที่มีต่อเชื้อสาเหตุโรคในดินSclerotium rolfsii และประสิทธิภาพในการควบคุม
ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล และ รณภพ บรรเจิดเชิดชู
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (พิเศษ). 2551. หน้า 253-256. - 4.การยืดอายุการเก็บรักษาและคุณภาพของข่าอ่อนพร้อมบริโภคด้วยสารเคมีร่วมกับสภาพดัดแปลงบรรยากาศ
อุบล ชินวัง, จริงแท้ ศิริพานิช และเรวัติ ชัยราช
กำหนดการประชุมและบทคัดย่อ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 7, 26-30 พฤษภาคม 2551. ณ โรงแรม อมรินทร์ลากูน จ. พิษณุโลก. 391 หน้า - 5.การอบแห้งสมุนไพรด้วยเครื่องอบแห้งแบบลมร้อนร่วมกับอินฟราเรดไกล
กิตติศักดิ์ วิธินันทกิตต์ วทัญญู รอดประพัฒน์ ศรีมา แจ้คำ สุชาติ พินงรัมย์ และ คมเพชร พร้อมสุข
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 41 : 1 (พิเศษ) : 528-531 (2553) - 6.ผลของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์
ดนัย บุณยเกียรติ พิชญา บุญประสม พูลลาภ และชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 42 (3 พิเศษ): 677-680. 2554. - 7.ผลของสารยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลต่อคุณภาพของข่าตัดแต่งสดที่บรรจุถุงพลาสติกย่อยสลายได้
ยุพิน อ่อนศิริ อภิตา บุญศิริ จิตติมา จิรโพธิธรรม และพิษณุ บุญศิริ
วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 46 (3/1 พิเศษ): 176-179. 2558. - 8.Quality of Fresh-Cut Galangal Harvested at Different Maturity Stages
Ubol Chinwong, Jingtair Siriphanich and Raywat Chaiwat
Agricultural Science Journal, Vol. 37 No.2 (Suppl.) 2006. p 55-58 - 9.Antioxidative properties and stability of ethanolic extracts of Holy basil and Galangal
T. Juntachote and E. Berghofer
Food Chemistry Volume 92, Issue 2, September 2005, Pages 193-202