งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ประจำปี 2555
มีงานวิจัยทั้งสิ้นจำนวน : 29 เรื่อง แสดงผลเรียงตามลำดับชื่อเรื่อง
- 1 . การประเมินการสูญเสียผลส้มพันธุ์สายน้ำผึ้งหลังการเก็บเกี่ยวและการวัดความช้ำด้วยเทคนิคไม่ทำลายผล
- 2 . Risk Profile of Aflatoxin Producing Fungi Contaminated in Husked and Color Rice in Thailand: Impact from Climate Change
- 3 . กรดไขมันและเอนไซม์ไลเปสในผลมะพร้าวอ่อนภายหลังการเก็บเกี่ยว
- 4 . กลไกการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคผลเน่าและแอนแทรคโนสมะละกอโดยใช้ยีสต์
- 5 . การจำแนกการเข้าทำลายของเชื้อรา Phomopsis sp. การลดการเข้าทำลาย ผลทุเรียน
- 6 . การเปลี่ยนแปลงกิจกรรมของเอนไซม์บริเวณหลุดร่วงของผลลองกอง
- 7 . การพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังสำหรับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก
- 8 . การพัฒนาเครื่องคั้นน้ำส้มและมะนาวอัตโนมัติสำหรับผลส้มและ มะนาวคละขนาด เพื่ออุตสาหกรรมเล็กและขนาดกลาง
- 9 . การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลชนิด SNP สำหรับลักษณะความแน่นเนื้อในมะละกอ
- 10 . การพัฒนาเทคนิคการตรวจหาสารตกค้างในผลส้มพันธุ์สายน้ำผึ้ง โดยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
- 11 . การพัฒนาเทคนิคการประเมินเอทานอลในผลส้มพันธุ์สายน้ำผึ้งโดยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
- 12 . การเพิ่มประสิทธิภาพการล้างและการเก็บรักษาผลส้มเขียวหวานโดยเทคโนโลยีไมโครบับเบิลโอโซนร่วมกับอุลตราโซนิคเพื่อลดสารฆ่า แมลงตกค้างและควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยว
- 13 . การรมด้วยก๊าซคลอรีนไดออกไซด์: ทางเลือกใหม่แทนการรมด้วยซัลเฟอร์ไดออกไซด์เพื่อควบคุมผลเน่าและการเกิดเปลือกสีน้ำตาลของผลลำไยพันธุ์ดอหลังการเก็บเกี่ยว
- 14 . การรมผลลำไย (Dimocarpus longan) สดด้วยโอโซนเพื่อลดสารตกค้างซัลเฟอร์ไดออกไซด์และการควบคุมโรคในระหว่างการเก็บรักษา
- 15 . การวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์ การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ที่เหมาะสม และการจัดการคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวส้มโชกุนในเขตภาคใต้ของประเทศไทย
- 16 . การวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์ของลำไยในเขตจังหวัดจันทบุรี
- 17 . การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของเหง้ามันสำปะหลัง และออกแบบหลักการทำงานของชุดกลไกตัดเหง้า
- 18 . การศึกษามุมครีบวงเดือนที่มีผลต่อสมรรถนะในการนวดของชุดนวดข้าวแบบไหลตามแกน
- 19 . การศึกษาและพัฒนาอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังติดตั้งกับรถบรรทุก
- 20 . การศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของส้มแมนดารินในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
- 21 . กิจกรรมของเอ็นไซม์และการเกิดกลิ่นผิดปกติของผลมะพร้าวอ่อนตัดแต่งผล ระหว่างการเก็บรักษา
- 22 . ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำตาลในก้านผลกับความบริบูรณ์ของผลทุเรียนพันธุ์หมอนทองและการประเมินแบบไม่ทำลายด้วยเทคนิค NIRs
- 23 . คุณสมบัติและการแสดงออกของยีน expansin และ cell wall hydrolase ระหว่างการสุกและการแตกของผลทุเรียน
- 24 . แบบจำลองโซ่อุปทานที่เหมาะสมสำหรับการขนส่งส้มเขียวหวาน
- 25 . ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการเก็บรักษาผลสับปะรดกลุ่มพันธุ์ควีนที่อุณหภูมิต่ำเพื่อการส่งออก
- 26 . ผลของการฉายรังสีแกมมาต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณ Ascorbic acidสารอาหารและคุณภาพของผลลำไย (Dimocarpus longa L.) ระหว่างการเก็บรักษา
- 27 . ผลของการใช้สารเคลือบไขรำข้าวต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของผลส้มเขียวหวาน (Citrus reticulata)
- 28 . อิทธิพลของเมทิลจัสโมเนทและเอทิลีนต่อการเปลี่ยนแปลงสีของเปลือกและคุณภาพของผลส้มโชกุน
- 29 . ารศึกษาอิทธิพลของ Salicylic acid (SA) และ N-(2-chloro-4-pyridyl)- N′-phenylurea (CPPU) ที่มีต่อคุณภาพ และการชะลอการนิ่มของผลมะละกอระหว่างการเก็บรักษา