งานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ประจำปี 2561
มีงานวิจัยทั้งสิ้นจำนวน : 12 เรื่อง แสดงผลเรียงตามลำดับชื่อเรื่อง
- 1 . ERF ในการเสื่อมสภาพของดอกกล้วยไม้สกุลหวายพันธุ์ขาวสนาน
- 2 . การจัดการศัตรูผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว ด้วยความร้อนแบบฟลูอิดไดซ์เบด
- 3 . การใช้สารในกลุ่ม redox agents และสารผสมกรดอินทรีย์ ร่วมกับบรรจุภัณฑ์แอคทีฟทดแทนการรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ของผลลำไยในโซ่อุปทานค้าปลีก
- 4 . การพัฒนากระบวนการสับและตีย่อยใบอ้อยหลังการเก็บเกี่ยว
- 5 . การพัฒนาเครื่องประเมินคุณภาพมะม่วงและสับปะรดด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดแบบพกพา
- 6 . การพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบคุณภาพแบบไม่ทำลายของกาแฟ ด้วยไดโอดเรืองแสง
- 7 . การพัฒนาอินดิเคเตอร์บ่งชี้การเน่าเสียของผักสลัดตัดแต่งพร้อมบริโภคเพื่อใช้ติดตามความสดและความปลอดภัยในสายโซ่อุปาทาน
- 8 . การพัฒนาอุปกรณ์ตรวจสอบเชื้อก่อโรคแอนแทรคโนสในผลมะม่วงโดยเทคนิคฟลูออเรสเซนต์
- 9 . การพัฒนาอุปกรณ์สำหรับตรวจสอบโรค แมลงและการเปลี่ยนแปลง กลิ่นหืนในข้าวกล้อง โดยใช้เทคโนโลยีจมูกอิเล็กทรอนิกส์
- 10 . การศึกษาอาการของโรคและความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้ เนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (Near Infrared spectroscopy: NIRs) เพื่อตรวจสอบแอนแทรกโนสและความผิดปกติทางสรีรวิทยา ของมะม่วงน้าดอกไม้สีทอง
- 11 . การแสดงออกของยีนในกระบวนการสังเคราะห์และการส่งถ่ายสัญญาณเอทิลีนกับการสะท้านหนาวในกล้วย และการตายโดยกำหนด ของเซลล์กับกระบวนการตกกระในกล้วย
- 12 . ตำแหน่งของเอนไซม์ PPO และ PAL ที่เกี่ยวข้องกับอาการไส้สีน้ำตาล ในผลสับปะรดหลังการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ