บทคัดย่องานวิจัย

ผลของสารควบคุมการเติบโตบางชนิดต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของดอกปทุมมาสีขาวบางสายพันธุ์

พจนารถ เทพสาตรา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 161 หน้า. 2551.

2551

บทคัดย่อ

ผลของสารควบคุมการเติบโตบางชนิดต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของดอกปทุมมาสีขาวบางสายพันธุ์

การศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดตอการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของปทุมมาตัดดอกพันธุสโนไวท ขาวดอยตุง และขาวลําปาง พบ  วาชอดอกตอบสนองตอเอทิลีนที่ไดรับจากภายนอก โดยชอดอกมีอายุการปกแจกันสั้นลง ปริมาณคลอโรฟลลใน coma bract ลดลง เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแลวเหี่ยวแหงไป ดอกจริงที่บานมีจํานวนลดลง อัตราการหายใจ และอัตราการผลิตเอทิลีนสูงขึ้น การใหสารยับยั้งการทํางานของเอทิลีนดวย silver thiosulphate (STS) หรือสารยับยั้งการสังเคราะหเอทิลีนด้วยaminooxyacetic acid (AOA) แลวนําไปทดสอบกับเอทิลีน สามารถยืดอายุการปกแจกันใหนานเทากับชุดควบคุมได การยับยั้งการทํางานของเอทิลีนดวย STS ทําใหปริมาณคลอโรฟลลใน coma bract อัตราการหายใจ และการผลิตเอทิลีนคงที่ ดอกจริงที่บานมีจํานวนเพิ่มขึ้น โดย STS มีประสิทธิภาพในการยับยั้งอิทธิพลของเอทิลีนจากภายนอกไดดีกวาการใช AOA

Gibberellic acid (GA3) และ benzyladenine (BA) สามารถยืดอายุการปกแจกันของ ชอดอกปทุมมาสีขาวใหนานขึ้นได โดยสารควบคุมการเจริญเติบโตทั้งสองชนิดเมื่อใหดวยวิธี ฉีดพนที่ coma bract จะทําให coma bract มีสีเขียวเขมขึ้น เนื่องจากมีการสะสมคลอโรฟลลใน coma bract มากขึ้น มีอัตราการดูดน้ำและคายน้ำเพิ่มสูงขึ้น ดอกจริงที่บานมีจํานวนเพิ่มขึ้น แตกานชอดอกเริ่มลีบแบนหลังจากวันที่